วันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ผู้จัดทำ








นายกิตติพงษ์  แสนรัก
รหัสนิสิต 56670033
กลุ่ม 3301












นางสาวธีรวรรณ บุญหนัก
รหัสนิสิต 56670036
กลุ่ม 3301













นางสาวศิริวรรณ  อินทรฤทธิ์
รหัสนิสิต 56670041
กลุ่ม 3301












นางสาวศิริรัตน์  วงวิญาติ
รหัสนิสิต 56670091
กลุ่ม 3301







ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557

คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์  สาขาภูมิสารสนเทศศาสตร์

มหาวิทยาลัยบูรพา




1.การแนะนำโปรแกรม ArcMap






หน้าต่างโปรแกรม ArcMap10


1.Task Bar - ชื่อโปรแกรม
2.Menu Bar - แถบเมนู
3.Tool Bar - แถบเครื่องมือ
4.Table Of Contents (TOC) - สารบัญ
5.Display area - ส่วนแสดงข้อมูล
6.Catalog Window - ส่วนนำเข้าข้อมูล
7.Status Bar - แถบแสดงค่าพิกัด UTM และหน่วยวัด





2.การนำเข้าข้อมูลและการแสดงชั้นข้อมูล






วิธีการนำเข้าข้อมูล

1. เปิดโปรแกรม ArcMap10

2. ไปที่ Catalog ( อยู่ด้านขวา )

3. คลิกขวาที่ Folder Connections เลือก Connect Folder

4. เลือก Folder ข้อมูลที่ต้องการนำเข้า ( ในที่นี้คือ RTArcGIS )
   ข้อมูลที่แสดงใน Folder RTArcGIS จะมีหลากหลายชั้นข้อมูลแต่ละชั้นข้อมูลจะไม่เหมือนกัน
   เช่น amp - ให้ข้อมูลตำบล ( เป็นข้อมูลโพลิกอน )
        pro - ให้ข้อมูลจังหวัด ( เป็นข้อมูลโพลิกอน )
        tran - ให้ข้อมูลถนน ( เป็นข้อมูลเส้น )
        vill - ให้ข้อมูลหมู่บ้าน ( เป็นข้อมูลจุด )

5. การนำเข้าข้อมูล
   วิธีที่1.
  ไปที่แถบ ToolBar เลือก App Data เลือกชั้นข้อมูลที่ต้องการ กด App แล้วกด OK
  ข้อมูลที่เลือกจะแสดงที่ Display area

   วิธีที่2.
  ไปที่แถบ Menu Bar เลือก File เลือก App Data เลือกชั้นข้อมูลที่ต้องการ กด App
  แล้วกด OK ข้อมูลที่เลือกจะแสดงที่ Display area

   วิธีที่3.
  ไปที่ Table Of Contents ( ด้านซ้ายมือ ) คลิกขวาที่ Layers เลือก App Data
  เลือกชั้นข้อมูลที่ต้องการ กด App แล้วกด OK ข้อมูลที่เลือกจะแสดงที่ Display area

การจัดลำดับชั้นข้อมูล
  คลิกที่ชั้นข้อมูลที่ต้องการ แล้วลากไปไว้ในตำแหน่งที่ต้องการ

การลบชั้นข้อมูลที่ Table Of Contents
  คลิกขวาที่ชั้นข้อมูลที่ต้องการลบ เลือก Remove

การเปลี่ยนสัญลักษณ์ สี ขนาด
  ไปที่ Table Of Contents คลิกสัญลักษณ์ที่อยู่ใต้ชื่อชั้นข้อมูล แล้วเลือกสัญลักษณ์
  (สีและขนาด) ที่เหมาะสมกับชั้นข้อมูล







3.การนำเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่และการใช้เครื่องมือ Navigation







การนำเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่

1. เปิดโปรแกรม ArcMap10

2. ไปที่ Catalog ( อยู่ด้านขวา )

3. คลิกขวาที่ Folder Connections เลือก Connect Folder

4. เลือก Folder ข้อมูลที่ต้องการนำเข้า ( ในที่นี้คือ RTArcGIS ) เลือก Folder Prachinburi

5. เลือกข้อมูล Amphoe,Trans,Village

6. ไปที่ Table Of Contents ( ด้านซ้ายมือ ) คลิกขวาที่ชั้นข้อมูลจุด (Village)
    เลือก Open Attribute Table จะได้ตารางข้อมูลคุณลักษณะของ Village



การใช้เครื่องมือ Navigation จากแถบ Tool Bar

1. Zoom In,Zoom Out - ขยายแผนที่เข้า-ออก
2. Pan - ใช้เลื่อนแผนที่
3. Full Extent - ปรับขนาดแผนที่ให้เหมาะกับพื้นที่ Display area
4. Fixed Zoom In - ขยายแผนที่เข้าตามมาตราส่วน
5. Fixed Zoom Out - ขยายแผนที่ออกตามมาตราส่วน
6. Go Back To Previous Extent,Go To Next Previous Extent - การย้อนไป-กลับ
7. Select Feature - ใช้ในการเลือกพื้นที่เฉพาะเจอะจง
8. Clear Select Feature - การยกเลิกพื้นที่ที่เลือกไว้
9. Identify - แสดงรายละเอียดของพื้นที่ที่เลือก
10.HTML Popup - แสดงรายละเอียดอย่างย่อของพื้นที่ที่เลือก








4.การกำหนดพิกัดภูมิศาสตร์และการต่อภาพ







การกำหนดพิกัดภูมิศาสตร์หรือการตรึงจุด

   เป็นการเพิ่มพิกัดให้กับภาพถ่ายทางอากาศ










5.การสร้าง Geodatabase






Geodatabase
    การจัดเก็บข้อมูลให้อยู่ในโฟลเดอร์ ข้อมูลที่จัดเก็บใน Geodatabase มี่ 3 ชนิด คือ
1.Table
2.Feature class
3.Raster dataset

Geodatabase แบ่งเป็น 3 ประเภท
1.Personal Geodatabase
2.File Geodatabase
3.ArcSDE Geodatabase












6.การนำเข้าค่าพิกัด XY และการ Digitiz








การนำเข้าค่าพิกัด XY 
 
     การเปลื่ยนข้อมูลตารางให้เป็นข้อมูลจุด

1. เปิดข้อมูล Excel แล้วบันทึกเป็นข้อมูล .txt

2. เปิดโปรแกรม ArcMap

3. คลิกขวาที่ Folder Connections เลือก Connect Folder
เลือก Folder ที่บันทึกข้อมูล .txt

4. ลากข้อมูล .txt ไปที่ Display area

5. คลิกขวาที่ชั้นข้อมูล school.txt เลือก Display XY Data

6. ใส่ค่าพิกัดโดยไปที่ Edit ----> Select ----> projecten coordinate ----> UTM ---->
WGS 1984 ----> Northern Hemisphere ----> WGS 1984 ZONE 47N ----> Add ----> OK

7.ข้อมูลจุดจะแสดงใน Display area



การนำเข้าข้อมูลโดยการ Digitizing

การ Digitizing คือแปรภาพด้วยสายตา

1. สร้าง Folder ใหม่

2. สร้าง Shapefile เก็นไว้ใน Folder ที่สร้างไว้
     Shapefile ที่สร้างมีทั้งหมด 5 Shapefile
     - วงเวียน (Circle)
     - ถนน (Road)
     - แหล่งน้ำ (Water)
     - อาคาร (Building)
     - ขอบเขตมหาวิทยาลัย (Boundary)

3. คลิกขวาที่ชั้นข้อมูลเลือก Open Attribute Table ----> Table Options ----> App Field
----> ตั้งชื่อว่า Name ----> ที่ type เลือก text ----> ใส่จำนวนตัวอักษร ----> OK

** ทำให้ครบทุกชั้นข้อมูล

4. ไปที่เครื่องมือ Editor เลือก Start Editing จากนั้นลงมือ Digitiz

5. จากนั้นตั้งชื่อจุดที่ Digitiz แล้ว Save Edit เมื่อ Digitiz เสร็จแล้วให้ Stop Edit

** ทำให้ครบทุกชั้นข้อมูล

6. เมื่อ Digitiz เสร็จครบทุกชั้นข้อมูลก็ทำการ Save ข้อมูลเพื่อนำไปทำ Layout ในขั้นตอนถับไป








วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

7.การทำ Layout






การจัดทำแผนที่ Layout

ในการจัดทำแผนที่ควรมีองค์ประกอบที่สำคัญดังต่อไปนี้

- ตัวแผนที่ (Map Body)
เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของแผนที่ หากขาดตัวแผนที่ไปจะไม่มีข้อมูลมาแสดงเป็นแผนที่ได้

 - ชื่อแผนที่ (Title)
บอกให้ทราบว่าเป็นแผนที่ เรื่องอะไร แสดงอะไร เพื่อจะได้ใช้ประโยชน์ได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ เช่น แผนที่แสดงแนวเขตของพื้นที่ต่าง ๆ   แผนที่แสดงความหนาแน่นของประชากร แผนที่แสดงการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นต้น

 - คำอธิบายสัญลักษณ์ (Legend)
ใช้อธิบายความหมายของรายละเอียดของสิ่งต่างๆ บนพื้นผิวโลกที่แสดงลงบนแผนที่

 - มาตราส่วน (Scale)
ความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางบนแผนที่กับระยะทางในภูมิประเทศจริง ซึ่งเป็นข้อมูลที่บอกให้ผู้ใช้แผนที่ทราบว่า แผนที่นั้นๆ ย่อส่วนมาจากของจริงในอัตราส่วนเท่าใด เช่น แผนที่มาตราส่วน 1:50,000 ระยะทางจริงในภูมิประเทศ 1 กิโลเมตร เมื่อเขียนลงแผนที่อาจจะเขียนย่อส่วนลงจาก 1 กิโลเมตร เป็น 2 เซนติเมตร เป็นต้น

 - ทิศ (North Arrow) 
ในแผนที่จะระบุทิศเหนือไว้เสมอ เพื่อให้อ่าแผนที่ได้ง่ายขึ้น ในกรณีที่แผนที่ไม่ได้ระบุทิศไว้ให้เข้าใจว่าเมื่อหันหน้าเข้าหาแผนที่ ด้านบนของแผนที่คือทิศเหนือ ด้านล่างเป็นทิศใต้ ด้านขวามือเป็นทิศตะวันออกและด้านซ้ายมือเป็นทิศตะวันตก

 - ระบบพิกัด ( Coordinate System)
เป็นระบบที่สร้างขึ้นสำหรับใช้อ้างอิงในการกำหนดตำแหน่งหรือบอกตำแหน่งพื้นโลกจากแผนที่ มีลักษณ์เป็นตารางโครงข่ายที่เกิดจากตัดกันของเส้นตรงสองชุดที่ถูกกำหนดให้วางตัวในแนวเหนือ-ใต้ และแนวตะวันออก - ตะวันตก ตามแนวของจุดศูนย์กำเนิด (Origin) ที่กำหนดขึ้น  ค่าพิกัดที่ใช้อ้างอิงในการบอกตำแหน่งต่างๆ จะใช้ค่าของหน่วยที่นับออกจากจุดศูนย์กำเนิดเป็นระยะเชิงมุม (Degree) หรือเป็นระยะทาง (Distance) ไปทางเหนือหรือใต้และตะวันออกหรือตะวันตก ตามตำแหน่งของตำบลที่ต้องการหาค่าพิกัดที่กำหนดตำแหน่งต่าง ๆ จะถูกเรียกอ้างอิงเป็นตัวเลขในแนวตั้งและแนวนอนตามหน่วยวัดระยะใช้วัด

- แหล่งที่มา (Data Source) หรือผู้จัดทำ (Map Maker)
หากข้อมูลที่นำมาใช้มาจากหน่วยงานอื่น ควรมีการใส่แหล่งที่มาในแผนที่ด้วย



แหล่งที่มา
https://www.gotoknow.org/posts/450967
เอกสารประกอบการเรียน วิชา 876213 GIS1 มหาวิทยาลัยบูรพา





8. การใช้เครื่องมือ Geoprocessing






การใช้คำสั่ง Geoprocessing

1.Clip - การตัดข้อมูลบริเวณที่ต้องการ

เป็นฟังชั่นสำหรับตัดข้อมูลที่ต้องการตามขอบที่กำหนด โดยตัดข้อมูลแผนที่ออกจากชั้นข้อมูลที่ต้องการ  ( Input feature) ด้วยแผนที่หรือพื้นที่ที่เป็นขอบตัด (Clip feature) เช่น ต้องการขอบเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินเฉพาะอำเภอที่ศึกษาเท่านั้น (Output feature) ทั้งนี้จะใช้ขอบเขตอำเภอจะเป็นขอบในการตัดการใช้ประโยชน์ที่ดินในแบบฝึกหัดนี้จะได้ฝึกการตัดชั้นข้อมูล Landuse

2.Batch Processing - การประมวลผลข้อมูลหลายๆข้อมูลพร้อมกัน ด้วยข้อมูลที่แตกต่างกัน โดยคลิกขวาบน Clip เลือก Batch

3.Erase - การลบข้อมูล

4.Intersect - การหาพื้นที่ที่ซ้อนทับกัน

5.Union - การรวมพื้นที่เข้าด้วยกัน

6.Buffer - การสร้างระยะห่างหรือแนวกันชนใช้บริเวณข้อมูลที่เลือก

เป็นการสร้างระยะทางที่ห่างจากฟีเจอร์ตามค่าที่กำหนดหรือใช้ค่าจาก การสร้าง Buffer เป็นการวิเคราะห์พื้นที่เพียง 1 ชั้นข้อมูล และเป็นกาสร้างพื้นที่ล้อมรอยฟีเจอร์ (Point, Line หรือ Polygon) ของชั้นข้อมูลที่ได้คัดเลือกไว้บางส่วน หรือหากไม่ได้เลือกไว้โปรแกรมจะสร้าง Buffer ให้ทั้งชั้นข้อมูล ผลที่ได้รับคือ ชั้นข้อมูลใหม่ที่มีขนาดความกว้างของพื้นที่จากตำแหน่งที่เลือก เท่ากับขนาดของ Buffer ที่ได้กำหนดและมีหน่วยตามที่กำหนด

7.Append - การเพิ่มชั้นข้อมูลแผนที่

8.Merge - การรวมชั้นข้อมูลเข้าด้วยกัน

9.Dissolve - การรวมกลุ่มข้อมูล



แหล่งที่มา
https://www.gotoknow.org/posts/450968
เอกสารประกอบการเรียน วิชา 876213 GIS1 มหาวิทยาลัยบูรพา